Northeastern Region / ภาคอีสาน

Ikat | มัดหมี่

Ikat is a textile patterning technique in which the warp or weft yarns are dyed prior to weaving the fabric. The word ‘ikat’ comes from the Malay-Indonesian word mengikat, which means “to tie.”

A characteristic of Ikat textiles is an apparent “blurriness” to the design. The blurriness is a result of the extreme difficulty the weaver has lining up the dyed yarns so that the pattern comes out perfectly in the finished cloth. The blurriness can be reduced by using finer yarns or by the skill of the craftsperson. 

Ikat dyeing can be a very laborious process. The design is first drawn and the warp and weft threads are carefully measured, tied and placed in the dye solution. For fabric of different colors, the ties are removed and the warp is retied and dyed again to create layers of color.

Ikat is produced in many traditional textile centers around the world, from India to Central Asia, Southeast Asia, Japan (where it is called "kasuri"), Africa and Latin America.

In Thailand, the local weft ikat type of woven cloth is known as Matmi (also spelled 'Mudmee' or 'Mudmi'). Traditional Mudmi cloth was woven for daily use among the nobility. Other uses included ceremonial costumes. This type of cloth is the favorite silk item woven by ethnic Khmer people living in southern Isaan, mainly in Surin, Sisaket and Buriram.

Ikat หรือ มัดหมี่ เป็นเทคนิคการทำแพทเทิร์นสิ่งทอที่ด้ายยืนหรือด้ายพุ่งจะถูก ย้อมก่อนทำการทอผ้า คำว่า 'ikat' มาจากคำว่า mengikat มาเลย์-อินโดนีเซีย ซึ่งแปลว่า "ผูก"

ลักษณะของสิ่งทอ มัดหมี่ คือลวดลายที่มี "ความพร่ามัว” ลวดลายที่พร่ามัวนั้นเกิดมาจากความยากลำบากอย่างมาก ที่ช่างทอผ้าต้องเรียงเส้นด้ายย้อมเพื่อให้ลวดลายออกมาสมบูรณ์แบบในผ้าที่ทำเสร็จแล้ว ความเบลอนี้สามารถลดลงได้โดยใช้เส้นด้ายที่ละเอียดกว่าหรือโดยฝีมือของช่างฝีมือ

การย้อมสีมัดหมี่เป็นกระบวนการที่อาศัยความอดทนและละเอียดละออเป็นอย่างมาก  เริ่มจากการออกแบบและวาดลวดลาย การวัดเส้นยืนและด้ายพุ่งอย่างระมัดระวัง ผูก และวางในสีย้อม สำหรับผ้าที่มีสีต่างกัน ด้ายที่มัดไว้จะถูกนำออกเพื่อผูกด้ายยืนและย้อมอีกครั้งเพื่อสร้างชั้นของสีต่อไป

เทคนิคมัดหมี่นั้นเป็นเทคนิสิ่งทอดั่งเดิมซึ่งกระจายอยู่ทั่วโลก ตั้งแต่อินเดียไปจนถึงเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ญี่ปุ่น (ที่เรียกว่า "kasuri") แอฟริกา และละตินอเมริกา

ในประเทศไทย ผ้ามัดหมี่แบบดั้งเดิมถูกทอขึ้นเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันในหมู่ขุนนางและผู้สูงศักดิ์ การใช้งานอื่นๆ รวมถึงไปถึงเครื่องแต่งกายที่ใช้ในพิธีการต่างๆทางศาสนา ผ้ามัดหมี่นิยมทอด้วยผ้าไหมโดยชาวเขมรที่อาศัยอยู่ในภาคใต้ของภาคอีสาน ซึ่งส่วนใหญ่จะพบในจังหวัดสุรินทร์ ศรีสะเกษ และบุรีรัมย์